นกเงือก (HORNBILL) ทั่วโลกมี ๕๕ ชนิด มีการแพร่กระจายอยู่ในแถบเขตร้อน ของทวีปอาฟริกา และเอเซีย ประเทศไทยมีนกเงือก ๑๓ ชนิด ซึ่งในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งมีอาณาเขตส่วนหนึ่งอยู่ใน จังหวัดนครราชสีมา มี ๔ ชนิด ได้แก่ นกกก หรือ นกกะวะหรือ นกกาฮัง นกเงือกสีน้ำตาล นกเงือก กรามช้าง หรือนกกู่กี๋ และนกแก๊ก หรือนกแกง
นกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ อาจมีความยาว ๑.๕ เมตร เมื่อวัดจากปากถึงปลายหาง ส่วนมากมักจะมีขนสีดำสลับขาว มีลักษณะการทำรังโดยตัวเมียปิดขังตัวเองอยู่ภายในโพรงไม้ นกเงือกมีนิสัยในการทำรังผิดแปลกไปจากนกอื่นใดในโลก คือ เมื่อถึงฤดูกาลทำรัง นกคู่ผัวเมียจะพากันหารัง ซึ่งได้แก่ โพรงไม้ตามต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นยาง ที่อยู่ในที่ลับตา
นกเงือกเป็นนกผัวเดียวเมียเดียว จะมีการเกี้ยวพาราสี เมื่อตัวเมียเข้าไปอยู่ในโพรง จะทำความสะอาดแล้วเริ่มปิดปากโพรง ด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น ดิน เปลือกไม้ ตัวเมียจะผสมวัสดุเหล่านี้กับมูลของมันเอง เมื่อปิดปากโพรงจึงเหลือเพียงช่องแคบ ๆ ตัวเมียจะขัง ตัวอยู่ภายในเพื่อออกไข่เลี้ยงลูก ตัวผู้จะทำหน้าที่ดูแลตัวเมียและลูกโดยส่งอาหารผ่านทางปากโพรง นกเงือกจะมีส่วนหนังเปลือยเป็น สีฉูดฉาดอยู่บ้าง เช่น บริเวณคอ ขอบตา มีขนตายาว ขาสั้น ชอบกระโดด ลิ้นสั้น จึงกินอาหารโดยจัดอาหารให้อยู่ที่ปลายปากแล้วโยน กลับลงคอไป อาหารของนกเงือกมีทั้งพืชและสัตว์ เช่น ผลไทร สุรามะริด ผลตาเสือ เป็นต้น สัตว์ ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน แมลง เป็นต้น
เนื่องจากนกเงือกอาศัยทำรังในโพรงไม้ใหญ่ และกินอาหารที่ได้จากผลผลิตในป่า นกเงือกจึงเป็นดัชนีบ่งชี้ความสมบูรณ์ ของป่า หรือสัญลักษณ์ของป่าดงดิบเป็นส่วนหนึ่งของสรรพสิ่งในระบบนิเวศ
ปัจจุบันการศึกษาวิจัยธรรมชาติมีน้อยมาก การที่มีข้อมูลเรื่อง นกเงือกเป็นอย่างดีทั้งนี้เนื่องจากการ ศึกษาวิจัยอย่างจริงจังของ โครงการศึกษานิเวศวิทยาของนกเงือก นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.พิไล พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นกเงือก (HORNBILL) ทั่วโลกมี ๕๔ ชนิด มีการแพร่กระจายอยู่ ในแถบเขตร้อนของทวีปเอเซีย ประเทศไทยมีนกเงือก ๑๓ ชนิด ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มี ๔ ชนิด ได้แก่ นกกกหรือ นกกะวะหรือนกกาฮัง นกเงือกสีน้ำตาล นกเงือกกรามช้าง หรือ นกกู๋กี๋ และนกแก๊ก หรือนกแกง
นกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ อาจมีความยาว ๑.๕ เมตร เมื่อวัดจากปลาย ปากถึงปลายหาง ส่วนมากมักจะมีขนสีดำสลับขาวมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว คือ ปากขนาดใหญ่ ยาวโค้ง มีโหนกอยู่บนส่วนปาก จัดเป็นสัตว์ที่ยังคง ความเป็นอยู่แบบโรราณตามลักษณะการทำรังโดยตัวเมียปิดขังตัวเองอยู่ ภายในโพรงไม้ นกเงือกมีนิสัยในการทำรังผิดแปลกไปจากนกอื่นใดในโลก คือ เมื่อถึงฤดูกาลทำรัง นกคู่ผัวเมียจะพากันหารัง ซึ่งได้แก่ โพรงไม้ตาม ต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นยาง ที่อยู่ในที่ลับตา
นกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ อาจมีความยาว ๑.๕ เมตร เมื่อวัดจากปากถึงปลายหาง ส่วนมากมักจะมีขนสีดำสลับขาว มีลักษณะการทำรังโดยตัวเมียปิดขังตัวเองอยู่ภายในโพรงไม้ นกเงือกมีนิสัยในการทำรังผิดแปลกไปจากนกอื่นใดในโลก คือ เมื่อถึงฤดูกาลทำรัง นกคู่ผัวเมียจะพากันหารัง ซึ่งได้แก่ โพรงไม้ตามต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นยาง ที่อยู่ในที่ลับตา
นกเงือกเป็นนกผัวเดียวเมียเดียว จะมีการเกี้ยวพาราสี เมื่อตัวเมียเข้าไปอยู่ในโพรง จะทำความสะอาดแล้วเริ่มปิดปากโพรง ด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น ดิน เปลือกไม้ ตัวเมียจะผสมวัสดุเหล่านี้กับมูลของมันเอง เมื่อปิดปากโพรงจึงเหลือเพียงช่องแคบ ๆ ตัวเมียจะขัง ตัวอยู่ภายในเพื่อออกไข่เลี้ยงลูก ตัวผู้จะทำหน้าที่ดูแลตัวเมียและลูกโดยส่งอาหารผ่านทางปากโพรง นกเงือกจะมีส่วนหนังเปลือยเป็น สีฉูดฉาดอยู่บ้าง เช่น บริเวณคอ ขอบตา มีขนตายาว ขาสั้น ชอบกระโดด ลิ้นสั้น จึงกินอาหารโดยจัดอาหารให้อยู่ที่ปลายปากแล้วโยน กลับลงคอไป อาหารของนกเงือกมีทั้งพืชและสัตว์ เช่น ผลไทร สุรามะริด ผลตาเสือ เป็นต้น สัตว์ ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน แมลง เป็นต้น
เนื่องจากนกเงือกอาศัยทำรังในโพรงไม้ใหญ่ และกินอาหารที่ได้จากผลผลิตในป่า นกเงือกจึงเป็นดัชนีบ่งชี้ความสมบูรณ์ ของป่า หรือสัญลักษณ์ของป่าดงดิบเป็นส่วนหนึ่งของสรรพสิ่งในระบบนิเวศ
ปัจจุบันการศึกษาวิจัยธรรมชาติมีน้อยมาก การที่มีข้อมูลเรื่อง นกเงือกเป็นอย่างดีทั้งนี้เนื่องจากการ ศึกษาวิจัยอย่างจริงจังของ โครงการศึกษานิเวศวิทยาของนกเงือก นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.พิไล พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นกเงือก (HORNBILL) ทั่วโลกมี ๕๔ ชนิด มีการแพร่กระจายอยู่ ในแถบเขตร้อนของทวีปเอเซีย ประเทศไทยมีนกเงือก ๑๓ ชนิด ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มี ๔ ชนิด ได้แก่ นกกกหรือ นกกะวะหรือนกกาฮัง นกเงือกสีน้ำตาล นกเงือกกรามช้าง หรือ นกกู๋กี๋ และนกแก๊ก หรือนกแกง
นกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ อาจมีความยาว ๑.๕ เมตร เมื่อวัดจากปลาย ปากถึงปลายหาง ส่วนมากมักจะมีขนสีดำสลับขาวมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว คือ ปากขนาดใหญ่ ยาวโค้ง มีโหนกอยู่บนส่วนปาก จัดเป็นสัตว์ที่ยังคง ความเป็นอยู่แบบโรราณตามลักษณะการทำรังโดยตัวเมียปิดขังตัวเองอยู่ ภายในโพรงไม้ นกเงือกมีนิสัยในการทำรังผิดแปลกไปจากนกอื่นใดในโลก คือ เมื่อถึงฤดูกาลทำรัง นกคู่ผัวเมียจะพากันหารัง ซึ่งได้แก่ โพรงไม้ตาม ต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นยาง ที่อยู่ในที่ลับตา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น